ประวัติความเป็นมาของเทคโนโลยีการสื่อสารไร้สายตั้งแต่ยุคก่อนจนปัจจุบัน รวมถึงที่มาของมาตรฐาน 5G ว่ามาจากไหน บุคคลใดเป็นคนสร้างขึ้นมา
eMBB เป็นการใช้งานที่เน้นความเร็วในการสื่อสาร เป็นรูปแบบการใช้งานที่เราคุ้นเคยอยู่แล้ว เพราะเราเคยเห็นมาตั้งแต่ยุค 3G จนถึง 4G แต่สำหรับยุค 5G แตกต่างกันอย่างไร เรามีคำตอบ
เนื่องจากในโลกเรามีอุปกรณ์ที่สามารถเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตได้อย่างมากมาย ซึ่งจะรวมถึงอุปกรณ์ทุกรอบตัวเรา mMTC จึงเป็นลักษณะการใช้งานที่จะมาตอบสนองต่อการเชื่อมต่ออุปกรณ์เหล่านี้ mMTC มีคุณลักษณะอย่างไร เรามีคำตอบ
ในยุค 5G ยังมีลักษณะการใช้งานอินเทอร์เน็ตที่ต้องการความรวดเร็วและความแม่นยำสูง เช่น รถยนต์ไร้คนขับ การผ่าตัดทางไกล หรืออุปกรณ์ในโรงงาน ที่หากทำงานผิดพลาดอาจเกิดความสูญเสีย URLLC จึงมารองรับแก่การใช้งานรูปแบบนี้ URLLC มีลักษณะอย่างไร เรามีคำตอบ
หนึ่งในตัวการใช้งานเทคโนโลยี 5G ที่สามารถก่อให้เกิดประโยชน์ต่ออุตสาหกรรมในประเทศชาติ เช่น เกษตรกรรม และการใช้งานเหล่านั้นคืออะไร เราได้มาอธิบายแล้ว
การสื่อสารไร้สายไร้ทั่วไปสามารถเกิดการรบกวนระหว่างการส่งสัญญาณได้ หากเราไม่ทำการเข้ารหัสช่องสัญญาณ ผู้รับอาจได้ข้อมูลการสื่อสารที่ผิดพลาด ซึ่งในยุค 5G ที่มีความสามารถในการสื่อสารที่สูงนั้น เข้ารหัสช่องสัญญาณอย่างไร เรามาให้คำตอบแล้ว
ด้วยจำนวนอุปกรณ์ที่ต้องการการสื่อสารไร้สายจำนวนมาก เทคโนโลยีสายอากาศจึงไม่สามารถรองรับการใช้งานได้อย่างเพียงพอ เทคโนโลยีสายอากาศใหม่ เช่น Massive MIMO จึงเข้ามามีบทบาทในยุค 5G แล้ว Massive MIMO คืออะไร รูปร่างน่าตาอย่างอย่างไร ไปดูเลย
คลื่นสัญญาณการสื่อสาร ช่วงใหม่ที่มาตรฐาน 5G ได้เลือกมาใช้ แล้วมันดีกว่าคลื่นในยุคก่อนอย่างไร เรามาเปรียบเทียบให้ดู
ด้วยความสามารถในการสื่อสารที่สูง รวมถึงอุปกรณ์ที่ต้องการการสื่อสารไร้สายจำนวนมาก การจัดสรรทรัพยากรการใช้งานให้แต่ละอุปกรณ์จึงมีความสำคัญอย่างยิ่ง การจัดสรรทรัพยากรที่ยุค 5G เป็นอย่างไร แตกต่างจากยุคก่อนอย่างไร ไปรับชม
เทคโนโลยีน้องใหม่ที่จะมามีบทบาทสำคัญในโครงข่ายยุค 5G ที่ช่วยเพิ่มความสามารถของโครงข่ายได้ นั้นคือเทคโนโลยี Cloud RAN แล้ว Cloud RAN คืออะไร แตกต่างจาก RAN ในยุค 4G อย่างไร ไปดูกันเลย
อีกหนึ่งในเทคโนโลยีน้องใหม่ ที่ถูกใช้งานในวงการไอทีมาอย่างยาวนาน แต่สำหรับการสื่อสารไร้สายยุค 5G ที่เพิ่งหยิบยกขึ้นมา นั้นคือหลักการการแบ่งส่วนโครงข่าย มันคืออะไร เราได้มาอธิบายไว้แล้ว
การเปลี่ยนผ่านระหว่างยุค 4G ไปยัง 5G ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตคงไม่อยากจะทิ้งอุปกรณ์ในยุคเก่าไปเปล่าประโยชน์ มาตรฐาน 5G จึงรองรับการอุปกรณ์ในยุค 4G กับ 5G เข้าด้วยกัน การใช้งานร่วมกันดังกล่าวเป็นอย่างไร เรามีคำตอบ